1

1
2

วันพฤหัสบดีที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2552

Infinitive-Gerund-Parteiple

Infinitive - Gerund - Participle
1. ใช้ infinitive without to ตามหลังกริยาช่วยต่อไปนี้ คือ will, would, shall, should, can, could, may, might, need, would rather, had better
- She will go to Singapore next week.
# ยกเว้น
a) need และ dear ถ้าใช้เป็นกริยาหลัก ต้องมี to
b) ought และ used ต้องใช้ infinitive มี to คือ ought to, used to
c) Verb to be และ Verb to have ใช้ infinitive มี to คือ is, am are, was, were, has, have, had
- She needed to see her sister.
- She is to meet her sister at school today.
- She ought to study English.
2. หลังกริยาต่อไปนี้ + กรรม + infinitive ไม่มี to ก็ได้ gerund ก็ได้ คือ feel, hear, see, observe, notice, smell, watch
- We saw them come across the road.
- We saw them coming across the road.
3. ใช้ gerund ตามหลัง กริยาต่อไปนี้
admit = ยอมรับ deny = ปฏิเสธ favor = สนับสนุน practise = ฝึกฝน
appreciate = รู้คุณค่า dislike = ไม่ชอบ imagine = นึกคิด quit = เลิก
avoid = หลีกเลี่ยง enjoy = ชอบ mind = รังเกียจ recall = จำได้
consider = พิจารณา escape = หลีกเลี่ยง miss = พลาด risk = เสี่ยง
delay = ถ่วงเวลา finish = จบ, สำเร็จ postpone = เลื่อน suggest = เสนอแนะ
- Do you enjoy working here?
- I will quit smoking.
4. กริยาที่ตามหลัง preposition ทุกตัว ต้องใช้ gerund
- I succeeded in finding my job.
5. ใช้ gerund ตามหลังสำนวนต่อไปนี้
approve of = เห็นด้วย have a bad time = ประสบความลำบาก
be accustomed to = คุ้นเคยกับ, เคยชินกับ have a difficult time = ประสบความลำบาก
be busy = ยุ่งอยู่กับ have a good time = สนุก
be no good = ไม่มีประโยชน์, เป็นการไร้ประโยชน์ have a hard time = ไม่สนุก
ิbe no use = ไม่มีประโยชน์, เป็นการไร้ประโยชน์ have difficulty = มีความยุ่งยากลำบาก
be opposed to = คัดค้านที่จะ, ไม่เห็นด้วย have much difficulty = มีความยุ่งยากลำบากมาก
be tired of = เบื่อ have trouble = มีความยุ่งยากลำบาก
be used to = เคยชินกับ have much trouble = มีความยุ่งยากลำบากมาก
be worth = มีค่าควรแก่ insist on = ยืนกราน
can't bear = ทนไม่ได้ it's no use = เป็นการไร้ประโยชน์
can't help = อดไม่ได้ it's worth = มีคุณค่าสำหรับ
can't resist = อดไม่ได้ keep on = ทำต่อไป
can't stand = ทนไม่ได้ look forward to = ตั้งหน้าตั้งตาคอย
carry on = ทำต่อไป object to = คัดค้านต่อ
confess to = สารภาพ put off = เลื่อน
don't mind = ไม่รังเกียจที่จะ take to = ติดเหล้า, อุทิศตัว, หันไปทาง
forget about = ลืมเกี่ยวกับ Would you mind ... = คุณรังเกียจไหมที่จะ...
give up = เลิก, หยุด Do you mind ... = คุณรังเกียจไหมที่จะ
go on = ทำต่อไป * be = is, am, are, was, were, be, been
- We are looking forward to seeing you.
6. ปกติแล้ว infinitive และ gerund ใช้แทนกันได้ เช่น continue to write = continue writing
ยกเว้นกริยาต่อไปนี้ที่ทำให้ infinitive และ gerund มีความหมายต่างกัน
# verb + infinitive = มีความหมายเป็นอนาคต คือจะทำในอนาคต
# verb + gerund = มีความหมายเป็นอดีต คือได้ทำไปแล้ว
- stop + infinitive = หยุดเพื่อจะทำอย่างอื่น
- stop + gerund = หยุดหรือเลิกทำในสิ่งที่เคยทำมา
- forget + infinitive = ลืมที่จะทำ
- forget + gerund = ลืมว่าได้ทำไปแล้ว
- remember + infinitive = จำได้ว่าจะ...
- remember + gerund = จำได้ถึงสิ่งที่ผ่านมา
- regret + infinitive = เสียใจในสิ่งที่จะทำ
- regret + gerund = เสียใจในสิ่งที่ทำไปแล้ว
- try + infonitive = พยายามที่จะทำสิ่งนั้น
- try + gerund = พยายามกับสิ่งนั้นมาแล้ว
- Don't foget to send me your email address. [ลืมที่จะทำ]
- She fogot turning off the light. [ลืมว่าได้ปิดไฟแล้ว]
7. กริยาต่อไปนี้ สามารถตามด้วยกรรมได้เลย ไม่ต้องมี preposition มาคั่นอีก ได้แก่ discuss, enter, join, lack, marry, resemble, solve
- Students try to enter universities.
8. การใช้ participle phrase นำหน้า เพื่อขยายประโยคทั้งประโยค เป็นการรวม 2 ประโยคเข้าด้วยกันโดยใช้ participle phrase มีหลักการดังนี้
8.1 กรณีประธานเป็นผู้กระทำ (active) และเหตุการณ์ทั้ง 2 เกิดใกล้เคียงกันหรือในเวลาเดียวกัน ให้ใช้ present participle (Verb- ing)
- I walked in the dark. I stepped on something soft.
= Walking in the dark, I stepped on something soft.
* ประธานของประโยคต้องเป็นคนเดียวหรือสิ่งเดียวกับประโยคหลัง
8.2 กรณีประธานเป็นผู้กระทำ (active) และเหตุการณ์ทั้ง 2 เกิดก่อนและหลังห่างกันนานหรือต่างกรรมต่างวาระ ให้ใช้ perfect participle (Having +V.3)
- She completed her work. She went to the cenema.
= Having completed her work, she went to the cenema.
8.3 กรณีประธานเป็นผู้ถูกกระทำ (passive) และเหตุการณ์ทั้ง 2 เกิดใกล้เคียงกันหรือในเวลาเดียวกัน ให้ใช้ past participle (V.3)
- Trapped in a high branch of the tree, the cat could be reached by a man using a long ladder.
8.4 กรณีประธานเป็นผู้ถูกกระทำ (passive) และเหตุการณ์ทั้ง 2 เกิดก่อนและหลังห่างกันนาน ให้ใช้ perfect participle (Having been + V.3)
- Having been scolded, he left home.
8.5 ถ้าประธานของทั้ง 2 ประโยคไม่ใช่คนเดียวกันหรือสิ่งเดียวกัน จะตัดประธานตัวใดตัวหนึ่งออกไม่ได้ แต่ให้เปลี่ยนกริยาในประโยคหน้าเป็น Verb-ing หรือ V.3 และเรียกโครงสร้างประโยคนี้ว่า absolute phrase
- The sun having set, they went home.
- All things taken into consideration, you have done it right.
9. หลักการใช้ present participle ทำหน้าที่เป็นเหมือนคุณศัพท์ขยาย noun
9.1 ถ้าใช้ขยายหน้านาม มีความหมายเป็น active คือนามที่ถูกขยายเป็นผู้กระทำ
- The boy is afraid of the barking dog.
9.2 ถ้าใช้ขยายข้างหลังนามประธาน จะทำหน้าที่คล้ายกับ adjective clause
- The man who was driving the car turned left.
= The man driving the car turned left.
10. หลักการใช้ past participle ทำหน้าที่เหมือนคุณศัพท์ขยาย noun
10.1 ถ้าใช้ขยายหน้านาม มีความหมายเป็น passive คือนามที่ถูกขยายเป็นผู้ถูกกระทำ
- The tired man sat down to rest.
10.2 ถ้าใช้ขยายข้างหลังนาม แต่ต้องมีบุพบทวลีมาขยายร่วมด้วย
- The book bought from the bookstore is about Thai history.
11. Verb ต่อไปนี้
alarm = ทำให้ตกใจ frighten = ทำให้ตกใจ
amaze = ทำให้ประหลาดใจ frustrate = ทำให้ไม่สมหวัง
amuse = ทำให้เพลิดเพลิน interest = ทำให้สนใจ
annoy = ทำให้รำคาญ please = ทำให้พอใจ
astonish = ทำให้ประหลาดใจ puzzle, perplex = ทำให้งง
bore = ทำให้เบื่อ relieve = ทำให้โล่งใจ
charm = ทำให้จับใจ, เป็นเสน่ห์ satisfy = ทำให้พอใจ
confuse = ทำให้สับสน scare = ทำให้ตกใจ
convince = ทำให้เชื่อ shock = ทำให้ตกใจ
daze = ทำให้งง stun = ทำให้งง
delight = ทำให้ยินดี surprise = ทำให้ประหลาดใจ
disappoint = ทำให้ผิดหวัง terrify = ทำให้ตกใจ
disgust = ทำให้สะอิดสะเอียน threaten = ขู่ให้กลัว
embarrass = ทำให้ลำบากใจ thrill = ทำให้สยองขวัญ
exhaust = ทำให้เหนื่อย tire = ทำให้เหนื่อย, ทำให้เบื่อ
excite = ทำให้ตื่นเต้น upset = ทำให้สบายใจ
fascinate = ทำให้สนใจ, ตรึงใจ
@ ถ้าใช้ในรูป Verb แท้ แปลว่า ทำให้...
- Peter's courage astonished us. [ทำให้..ประหลาดใจ]
@ ถ้านำมาใช้เป็น complement ของ Verb to be ในรูป present participle และ past participle ความหมายจะต่างกัน คือ
# V. to be + V.-ing มีความหมายทาง active = น่า...
# V. to be + V.3 มีความหมายทาง passive = รู้สึก...
- That lecture was boring. [น่าเบื่อ]
- Peter was tired after examination. [รู้สึกเหนื่อย]